A Secret Weapon For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

สิ่งที่น่าสนใจเพิ่มเติมหลังผู้วิจัยได้สัมผัสวิถีชุมชนแต่ละแห่ง คือมิติด้านภูมิประเทศและวัฒนธรรมมีส่วนสำคัญต่อโอกาสทางการศึกษาของเด็กยากจนเช่นกัน จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ณ โรงเรียนชายขอบหรือโรงเรียนที่มีบริเวณติดชายแดนประเทศเพื่อนบ้านพบว่า เด็กต่างชาติอย่างพม่าและลาวประสบปัญหาค่าใช้จ่ายเรื่องการเดินทางข้ามฝั่งมาเรียนที่ไทย บางครั้งต้องหยุดเรียนเพื่อกลับบ้านไปช่วยผู้ปกครองทำงานหาเงิน เช่นเดียวกับนักเรียนบนดอย ที่จำเป็นต้องขาดเรียนไปช่วยงานครอบครัวเมื่อถึงฤดูเพาะปลูกหรือฤดูเก็บเกี่ยว

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษา ส่งผลให้คุณภาพการเรียนการสอนไม่เท่ากันในแต่ละพื้นที่ สถานศึกษาบางแห่งไม่ได้พัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน จึงทำให้องค์กรหลากหลายแห่งขาดแคลนแรงงานฝีมือคุณภาพ หรือต้องลงทุนไปกับทรัพยากรเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาพนักงานด้วยตนเอง 

ศศิวัฒน์ แป้นคุ้มญาติ , ณัฐพล สุกไทย / วิดีโอ

นอกจากนี้ ในปัจจุบันยังมีสาขาแยกย่อยและเฉพาะทางมากมาย จึงทำให้ผู้ที่ไม่ได้เข้าศึกษาในสาขาที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานจำเป็นต้องเรียนรู้งานใหม่เมื่อเข้าไปทำงานในองค์กรต่างๆ ในขณะเดียวกันโครงสร้างของบางองค์กรก็อาจไม่มีทรัพยากรณ์เพียงพอที่จะนำไปใช้ลงทุนกับนักศึกษาที่ขาดประสบการณ์ หรือพนักงานใหม่

ความเหลื่อมล้ำที่เกิดขึ้นจะยังมีอยู่เหมือนเดิม และอาจจะมีความรุนแรงมากขึ้น

เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม รวมถึงภาคประชาชน ควรมีส่วนร่วมในการหาแนวทางแก้ไขให้ช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลง เพื่ออนาคตที่ดีของเยาวชน และสังคมไทยในภายภาคหน้า

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

การพัฒนาทักษะต่างๆ จะเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก โดยเด็กคนหนึ่งจะเริ่มพัฒนาทักษะทางการคิดขั้นพื้นฐาน ก่อนจะพัฒนาขั้นที่สูงขึ้นเมื่อเติบโตเป็นวัยรุ่นและเข้าสู่ช่วงผู้ใหญ่ตอนต้น พร้อมๆ กับเริ่มพัฒนาทักษะเชิงเทคนิคที่จำเป็นต่อการทำงานไปด้วย ขณะที่ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการพัฒนาทักษะด้านอารมณ์และสังคมคือวัยเด็กตอนต้น และเริ่มพัฒนาต่อในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้นผ่านทางประสบการณ์ใหม่ๆ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ที่ได้รับ

สามารถขอรับคำปรึกษา และหากโครงการที่นำเสนอมีศักยภาพ จะมีโอกาสได้รับเงินทุนทำต่อ และ ได้รับการสนับสนุนการทำโครงการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น knowledge / technologies / evaluation / economic / analysis/ partnership

ดร.ศุภโชค ปิยะสันต์ ที่ปรึกษาเครือข่ายชมรมนักจัดการศึกษาบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร กล่าวถึงความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มโรงเรียนขนาดเล็กที่กำลังจะเพิ่มจำนวนขึ้น แต่รูปแบบงบประมาณยังไม่เปลี่ยนแปลง

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

เพราะแต่ละพื้นที่มีบริบทแตกต่างกันและโครงสร้างต้นตอของปัญหาก็ไม่เหมือนกัน การแก้ปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา” จึงต้องแก้ที่พื้นที่

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *